ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์
Prof.Dr.Grit Permtanjit
ตำแหน่ง อาจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สังกัด ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วุฒิการศึกษา
- ปริญญาตรี ๒๕๑๘ สถ.บ. (สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต) มหาวิทยาลัยศิลปากร
- ปริญญาโท ๒๕๒๐ M.Sc. (Human Settlement Planning & Development) Asian Institute of Technology
๒๕๒๑ M.C.P. (Master of City Planning University of Pennsylvania - ปริญญาเอก ๒๕๒๔ Ph.D. (Political Economy) University of Pennsylvania
คำสั่ง / แต่งตั้ง / ภาระงาน
- ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๕ [เอกสารคำสั่งแต่งตั้ง]
- ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๗
- ตำแหน่งอื่นๆ
– ประธานสภาอาจารย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (ตั้งแต่วันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๖ – ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๘)
– กรรมการบริหารศูนย์ศึกษาชุมชนเมือง คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ – ปัจจุบัน)
– ผู้อำนวยการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ศูนย์ภูเก็ต ลำพูน และอุดรธานี ระหว่าง พ.ศ.๒๕๓๘ – ๒๕๕๑ ตามลำดับ
– กรรมการสภาวิทยาลัยราชสีมา พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๔ - อาจารย์พิเศษ หลักสูตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘
ประสบการณ์การทำงาน
- อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๒๘ – ๒๕๒๙
- วิทยากรบรรยาย หลักสูตรนักปกครองระดับสูง หลักสูตรนักปกครองท้องถิ่นระดับสูง และหลักสูตรนายอำเภอ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. ๒๕๒๙
- วิทยากรบรรยาย หลักสูตรผู้กำกับการตำรวจ และหลักสูตรผู้บังคับการตำรวจ กรมตำรวจ ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ – ๒๕๓๑
- ผู้อำนวยการฝึกอบรมและสัมมนาระหว่างประเทศ หลักการจัดการการเงินของชุมชนเมือง ร่วมกับธนาคารโลกและหน่วยชุมชนมนุษย์กับประชาชาติ พ.ศ. ๒๕๒๘
เกียรติประวัติทางการศึกษาและกิจกรรม
๒๕๑๐-๑๑ ทุนอเมริกันฟิลด์เซอร์วิส (AMERICAN FIELD SERVICE)
๒๕๑๗ เหรียญทองจากการแข่งขันกีฬาฟันดาบสากล กีฬามหาวิทยาลัย และรางวัลนักกีฬาดีเยี่ยมมหาวิทยาลัยศิลปากร
๒๕๑๙-๒๐ ทุนรัฐบาลแคนนาดา เพื่อการศึกษาที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
๒๕๒๐-๒๔ ทุนรัฐบาลไทย เพื่อการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐฯ
๒๕๒๓ ชนะเลิศฟันดาบสากล ที่เมืองเยอรมันทาวน์ สหรัฐฯ
๒๕๒๒-๒๓ เลขาธิการสมาคมไทยสัมมนาในสหรัฐฯ
ประสบการณ์การสอน
- คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๕๙
– นโยบายสาธารณะ การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์
– สัมมนาการบริหารการพัฒนาในระดับท้องถิ่น
– การเมืองและนโยบายสาธารณะของชุมชนเมือง
– การบริหารการพัฒนา : ทฤษฎีและการปฏิบัติ
– ระบบเศรษฐกิจของไทย
– การจัดการเชิงกลยุทธ์ - คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
– การบริหารการพัฒนา
– นโยบายศาสตร์
– พุทธปรัชญาแห่งศาสตร์
ผลงานทางวิชาการ
- งานวิจัย
“อุบัติเหตุจราจรบนถนนลาดพร้าว : การศึกษาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ” เสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ อันดับที่ ๘๒๗ มิถุนายน ๒๕๒๖
“การศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาที่พักนักท่องเที่ยวที่ไม่เข้าข่ายพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. ๒๔๗๘” ร่วมกับ อาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เสนอต่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย มีนาคม ๒๕๒๘ (ระยะเวลา ๓ เดือน)
“พื้นที่สามจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกกับการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างภูมิภาคและการพัฒนาการแบบพึ่งพาของระบบเศรษฐกิจไทย” ร่วมกับ ดร.สุธี ประศาสนเศรษฐ เสนอต่อคณะกรรมการปฏิบัติภารกิจวิจัยเกี่ยวกับภาคตะวันออก สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๒๙ (ระยะเวลา ๑๐ เดือน)
“ปัญหา ศักยภาพ และแนวโน้มของการพัฒนาบุคลากรในการพัฒนาชนบท (การศึกษาวิจัยปรับปรุงสายงานสาธารณสุข และสายงานประถมศึกษา) ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปกรณ์ ปรียากร เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรรมการข้าราชการพลเรือน มกราคม ๒๕๓๐ (ระยะเวลา ๖ เดือนครึ่ง)
“บทบาทและขีดความสามารถขององค์การบริหารส่วนจังหวัดในการบริหารการพัฒนาท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดชลบุรี” เสนอต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี มีนาคม ๒๕๓๐ (ระยะเวลา ๙ เดือน)
“การแสวงหารูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการปกครองเทศบาลไทย” เสนอต่อมูลนิธิ
อีแบรท สตีฟตุ้ง ประเทศเยอรมัน ๒๕๓๑ – ๓๒
“การศึกษาด้านรูปแบบขององค์กร การจัดองค์กร และการจัดการภายใต้โครงการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ เสนอต่อสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ธันวาคม ๒๕๓๕ (ปรับปรุงและส่งใหม่ เมื่อพฤษภาคม ๒๕๓๖)
“การศึกษาด้านกฎหมาย ระเบียบ และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการประสานการพัฒนาเมือง (ฉบับแปลเป็นภาษาไทย) : Final Report, Area 5 : Development Coordination between Bangkok and its Suburbs; part 2 : Laws, Regulations, and Institutions in Urban Development submitted to National Economic and Social Development Board under the auspices of Thailand Development Research Institute Foundation.
Laws, Regulations, and Institutions in Urban Development : Final Report Areas 5 : Development Coordination between Bangkok and its Suburbs, Part 2. Bangkok : Thailand Development Research Institute Foundation, ๒๕๓๖.
การแสดงหาแนวทางในการจัดตั้งรัฐสวัสดิการในประเทศไทย, เสนอต่อคณะกรรมการกองทุน คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, พ.ศ. ๒๕๕๒.
- บทความวิชาการ
“บรรษัทประเทศไทย” ของ นายบุญชู โรจนเสถียร กับ แผนงานปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจไทยของธนาคารโลก” เสนอต่อที่ประชุมสัมมนาทางวิชาการของนักศึกษาไทย ในสหรัฐฯ ณ North Western University, Evanston, Illinois จัดโดยสมาคมไทยสัมมนาในสหรัฐฯ เดือนสิงหาคม ๒๕๒๓ ได้รับการตีพิมพ์ในจดหมายข่าว “มิตรไทย” ฉบับที่ ๒๓ วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๒๔
“ปัญหาความยากจนและการพัฒนาประเทศไทย” เสนอต่อที่ประชุมสัมมนาทางวิชาการของนักศึกษาไทยในสหรัฐฯ ณ เมือง Mont Clair New Jersey เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ได้รับการตีพิมพ์ในหนังสอ “ไทยมองไทย” สำนักพิมพ์เคล็ดไทย
“National Urbanization Policy in Thailand : Some Anti-theses to current Spatial Development Strategy” เสนอต่อที่ประชุมสัมมนานานาชาติ ในหัวข้อเรื่อง “National Development : Towards Action for Rural Urban Integration in Developing Countries” ณ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (A.I.T.) ระหว่างวันที่ ๑๕-๑๗ ธันวาคม ๒๕๒๕
“อิทธิพลขององค์การระหว่างประเทศและรัฐบาลต่างประเทศที่มีต่อนโยบายเศรษฐกิจไทย” ใน รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ และ สมบูรณ์ ศิริประชัย (บรรณาธิการ) ทฤษฎีการพึ่งพากับสังคมเศรษฐกิจไทย สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับวารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ ๒๕๒๘
“พัฒนาการของกลวิธีการพัฒนาภายใต้แนวความคิดความจำเป็นพื้นฐานในประชาคมการพัฒนาระหว่างประเทศ.” รัฐศาสตร์สาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑-๓ มกราคม – ธันวาคม ๒๕๒๘ หน้า ๑๗๕-๒๐๕ (๒๙ หน้า) และได้รับการตีพิมพ์ใน สาธารณสุขปริทัศน์ ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ เมษายน – มิถุนายน ๒๕๒๘ หน้า ๑๒-๓๒ และ วารสารวิชาการ สภาอาจารย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๒๙
“สถานภาพ ปัญหา และทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ในกระบวนการบริหารการพัฒนาในบริบทสากลและในประเทศไทย” ใน วิระตา สมสวัสดิ์ (บรรณาธิการ) รายงานการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง พัฒนาการทางรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์กับสังคมไทย โรงพิมพ์มิตรนราการพิมพ์ ๒๕๒๘
“การศึกษาเชิงสถาบันของความพร้อมในการถ่ายโอนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบล ในพื้นที่ทุรกันดารในจังหวัดราชบุรี, รัฐประศาสนศาสตร์ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๔๙ หน้า ๔๗-๘๐
“Welfare State, Welfare Society, or Populism : A Three Crossroads for Public Choice in Thailand,” เสนอต่อที่ประชุมสัมมนาระหว่างประเทศ 23rd General Assembly and Conference under the Auspices of EROPA 2011, Eastern Regional Organization for Public Administration, Bangkok Thailand.
- หนังสือ / ตำรา / เอกสารประกอบการสอน
“การบริหารโครงการของไทย” ในเอกสารการสอนชุดวิชา การวางนโยบายโครงการและการบริหารโครงการ หน่วยที่ ๑๕ สาขาวิชา วิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
“ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเกิดเป็นเมือง” กรุงเทพฯ : บริษัทครีเอตีฟ พับลิชชิ่ง พ.ศ. ๒๕๓๖
หนังสือรวบรวมบทความ การแสวงหาแนวทางการบริหารการพัฒนาภายใต้ทัศนะทางเศรษฐศาสตร์การเมือง, กรุงเทพฯ : สุขุมวิทการพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๕๐
แนวทางการบริหารภายใต้กระบวนทัศน์วิถีพุทธ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔
นโยบายศาสตร์ การบริหารภายใต้ภูมิทัศน์การแข่งขันใหม่ หลักการและแนวทางการบริหารวิถีพุทธ, เสนอต่อคณะกรรมการกองทุน คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (กำลังอยู่ระหว่างการปรับปรุงเพื่อพิมพ์เผยแพร่)
- การประชุมสัมมนาระหว่างประเทศ
๑. เป็นผู้ร่วมอภิปราย (Panelist) หนึ่งใน ๔ คน ภายใต้หัวข้อ “ASEAN Management Paradigm towards ASEAN Community” จัดร่วมกันโดยสถานทูต แห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ณ กรุงเทพมหานคร กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
๒. เป็นผู้พูดสำคัญ (Key note speaker) ใน “The 3rd International Forum on Inclegenous Management Practices” ก่อนสัมมนาที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว สาธารณรัฐประชาธิปไตยลาว
- งานที่ปรึกษาและการวางแผนวิเคราะห์โครงการ
๑. ที่ปรึกษา บริษัท True Connect, Ltd., ๒๕๕๗-๕๘
๒. ประธานที่ปรึกษา บริษัท ทิพย์แสง, ๒๕๔๘-๕๓
๓. ที่ปรึกษา บริษัท P.C. Food Industries Co., Ltd., ๒๕๓๔-๓๖
๔. การวิเคราะห์ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของโครงการ “Poy Tung Chatet Resort” ในจังหวัดเชียงราย, ๒๕๓๔-๓๕
๕. การวิเคราะห์ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของโครงการ “บางปะกงธานี : คอนโดมิเนียมและคลับเฮ้าส์” จังหวัดฉะเชิงเทรา, ๒๕๓๔-๓๕
๖. การวิเคราะห์และออกแบบโครงการบ้านจัดสรร โรงแรม และรีสอร์ท เนินวงษ์ จังหวัดจันทบุรี, ๒๕๓๓
๗. การวิเคราะห์ความเป็นไปได้และออกแบบผังแม่บทของโครงการสนามกอล์ฟสอยดาวไฮแลนด์ รีสอร์ท และสวนเกษตรของ คุณชาตรี โสภณพานิช ที่ อ.โป่งน้ำร้อน จ.จันทบุรี, ๒๕๓๑-๓๒
๘. การวางแผนและออกแบบเบื้องต้นสนามกอล์ฟศรีราชาอินเตอร์เนชั่นแนล ที่ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี, ๒๕๓๒
๙. การวางแผนแม่บทและแผนการใช้ที่ดินของสนามบินดอนเมือง เชียงใหม่ หาดใหญ่ และภูเก็ต เพื่อให้เป็นสนามบินนานาชาติของการท่าอากาศยานภายใต้ความร่วมมือกับ Louis Berger International, Inc. และ Index International Group, ๒๕๓๓
๑๐. ที่ปรึกษาด้านการวิเคราะห์เขิงสถาบันของโครงการวางแผนการบริหารทรัพยากรชายฝั่งทะเลของสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และ USAID, ๒๓๕๑
๑๑. ที่ปรึกษาและผู้อำนวยการโครงการปรับโครงสร้างการตลาดของพันธุ์ทิพย์พลาซ่า ให้เป็นศูนย์ศิลปวัฒนธรรม, บริษัท พันธ์ทิพย์อาเขต จำกัด, ๒๕๓๐
๑๒. ที่ปรึกษาเชิงสถาบันเพื่อประเมินผลและขยายผลโครงการจัดหาแหล่งน้ำขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ร่วมกับคณะทำงานของ ADAB จากประเทศออสเตรเลีย, ๒๕๓๒