.
ประวัติ และผลงานของ พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร, ผศ.ดร.

พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร, ผศ.ดร.
PhrapaladRaphin Buddhisaro, Assistant Prof. Dr.
โทร. 086-7713638 Email : raphind@yahoo.com

๑. วุฒิการศึกษา
ปีสำเร็จการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบัน เอกสาร
พ.ศ. ๒๕๓๙ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๔๓ Cert. of Khmer Language, Royal University of Phnom Penh Royal University of Phnom Penh
พ.ศ. ๒๕๔๕ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชีย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๕๕ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (PDF)

 

๒. ตำแหน่งปัจจุบัน
     ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร
พ.ศ.๒๕๕๙ บรรจุและแต่งตั้งเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย ตำแหน่งวิชาการ (PDF)
พ.ศ.๒๕๕๙ อาจารย์ผู้รับผิดชอบและประจำหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ  (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๑ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๓ อาจารย์ผู้รับผิดชอบและประจำหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (PDF)
พ.ศ. ๒๕๖๖ – ปัจจุบัน รองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ฝ่ายวิชาการ (PDF)
      ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก
พ.ศ. ๒๕๖๓ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ

 (PDF)

 

๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์
        ๑. ผลงานวิจัย
๑.๑ พระระพิน พุทธิสาโร, (นักวิจัยร่วม) “การเสริมสร้างสุขภาวะและการเรียนรู้ของสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาโดยการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในเขตภาคกลาง” (ร่วมกับคณะ) สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (2556-2557) ผศ.ดร.ณัทธีร์ ศรีดี (หัวหน้าโครงการวิจัย) [เอกสารพิมพ์ผลการวิจัย-สุขที่ได้ธรรม โดยพระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น) และคณะ. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]
๑.๒ พระระพิน พุทธิสาโร (นักวิจัยร่วม). “การพัฒนาเจตคติและจิตวิญญาณความเป็นครูในวิถีพุทธ”. รายงานการวิจัย. โดยเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (PDF)
๑.๓ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร.  “รูปแบบการประยุกต์ใช้พุทธเศรษฐศาสตร์ในชุมชนต้นแบบในประเทศไทย” โครงการวิจัยย่อย ในแผนงานโครงการเรื่อง “พุทธเศรษฐศาสตร์ในทัศนะของปราชญ์ในประเทศและต่างประเทศ”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
      ๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ
๒.๑ หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม กลุ่มสารสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔  แบบเรียนวิชาพระพุทธศาสนา ป.๑-๖ (กรุงเทพมหานคร :  สำนักพิมพ์คุณภาพวิชาการ )
๒.๒ หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม กลุ่มสารสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔  แบบเรียนวิชาพระพุทธศาสนา ป.๑-๖ (กรุงเทพมหานคร :  สำนักพิมพ์คุณภาพวิชาการ ) 
๒.๓ การเสริมสร้างสุขภาวะและการเรียนรู้ของสังคมตามแนวพระพุทธศาสนาโดยการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในเขตภาคกลาง (ร่วมกับคณะ) สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (๒๕๕๖-๒๕๕๗)
      ๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ
๓.๑ พระระพิน พุทธิสาโร. “พระอรหันต์สิ่งสร้างทางความเชื่อในสังคมไทย : การเปลี่ยนแปลงจากความจริง สู่ความลวง”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์.  ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๗) : ๑๙-๓๕.    (PDF)
๓.๒ พระระพิน พุทธิสาโร. “ความเป็นอื่นกับพหุลักษณ์ในอีสานตอนล่าง: พหุกรณีศึกษา โคราช ลาว เขมร และส่วย”. การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่องวิถีชาติพันธุ์ในอีสาน: “ภาวการณ์กลายเป็น” ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่. ณ ห้องประชุมคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  วันที่ ๗ – ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ หน้า ๔๖๒-๔๗๓. (PDF)
๓.๓ พระระพิน พุทธิสาโร. “บัตรสนเท่ห์ วิธีสร้างข่าวลือที่ไม่เคยล้าสมัย : ความจริง ความลวง ความรุนแรง และความตาย”. ในงานประชุมสัมมนา และเสนองานวิจัยในงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ ระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๑  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ระหว่าง ๒๘ – ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๙ หน้า ๓๐๔๘-๓๐๖๕. (PDF)
๓.๔ พระระพิน พุทธิสาโร. [เขียนร่วม] “พระพุทธศาสนาในจีน ทิเบต เวียดนาม ญี่ปุ่น : มองผ่านงานพระศรีคัมภีรญาณ”. ในงานหนังสือที่ระลึก ครบรอบ ๓๓ ปี คณะสังคมศาสตร์ มจร “อ่านพระศรีคัมภีรญาณผ่านผลงานนิพนธ์ร่วมสมัย-ศรีคัมภีรญาณวิชาการ” (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙). หน้า ๗๙ – ๙๑. และในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๘) : ๒๖๓-๒๗๗. (PDF)
๓.๕ พระระพิน พุทธิสาโร. “อาบัติ : บทวิเคราะห์อันว่าด้วยหนังศาสนากับมุมมองท่าทีตามแบบชาวพุทธ”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๙) : ๒๓๒-๒๔๓. (PDF)
๓.๖ พระระพิน พุทฺธิสาโร. “ความขัดแย้งอันว่าด้วยสมเด็จพระสังฆราช : แนวคิด หลักปฏิบัติ และข้อเท็จจริง”. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎเพชบุรี. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙) : ๓-๑๑. (PDF)
๓.๗ พระระพิน พุทฺธิสาโร. “แนวคิดการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยว (วัด) ในพระพุทธศาสนา : ทฤษฎี หลักการ และวิถีปฏิบัติ”.  วารสาร มจร มนุษย์ศาสตร์ปริทรรศน์.  ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒  (กรกฎาคม-ธันวาคม) (PDF)
๓.๘ พระระพิน พุทฺธิสาโร. (เขียนร่วม). “ความเตี้ยกับการบวชเป็นพระในสังคมไทย : บทวิเคราะห์ด้วยเกณฑ์และคุณสมบัติการบวชในพระพุทธศาสนา”. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๙) : ๗๗-๙๑. (PDF)
๓.๙ พระระพิน พุทฺธิสาโร. “พุทธวิธีการยุติความรุนแรง :แนวทางการสร้างสันติประชาธรรมในประชาคมอาเซียน”. วารสารพุทธอาเซียน. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๕๙) (PDF)
๓.๑๐ พระระพิน พุทฺธิสาโร. (เขียนร่วม). “สิ่งมีชีวิตอันนอกเหนือจากคนที่ชื่อว่าหนู : ท่าทีตามแนวพุทธต่อชีวิตอื่นว่าด้วยการใช้/ไม่ใช้ความรุนแรง”ารสาร มจร การพัฒนาสังคม. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๙) : ๙๔-๑๐๗. (PDF)
๓.๑๑ พระระพิน พุทฺธิสาโร. “พม่า : พระอึดอัดที่วัดมนูหะ การสื่อสารทางการเมืองและตัวตน”, วารสารพุทธอาเซียน. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน 2559) : ๕๗-๗๒ (PDF)
๓.๑๒ พระระพิน พุทธิสาโร. “ขบวนการพุทธใหม่ : ผู้หญิงกับพื้นที่ทางศาสนาในประเทศไทย New Buddhist Movement: Women with Religious Role in Thailand” พุทธนวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศไทย Buddhist Innovation for Developing Thailand การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๔ ระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๒, ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น The 4th National and the 2nd International Conferences 2017 Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Khon Kaen campus, 31 march 2017 (PDF)
๓.๑๓ พระระพิน พุทธิสาโร. ”ธรรมยุติกนิกายในกัมพูชา: ความสัมพันธ์ทางการเมืองและศาสนาของไทยและกัมพูชา”. วารสารพุทธอาเซียน. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙) (PDF)
๓.๑๔ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (เขียนร่วม). “สมเด็จพระสังฆราชไทย : รสนิยม ความเห็นขัดแย้ง และกลไกการได้มา”. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง “พุทธบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาจิตใจและสังคมยุคไทยแลนด์ 4.0 ” ๙ กันยายน ๒๕๖๐ ต.ฝายแก้ว อ.ภูเพียง จ.น่าน หน้า ๒๖๓-๒๖๔. (Docx)
๓.๑๕ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. ”บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาชุมชนต้นแบบวิถีพุทธ : กรณีศึกษาหลวงพ่อแดง วัดอินทาราม จ.สมุทรสงคราม”. งานประชุมวิชาการการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคม (CSD สัมพันธ์) ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๗ และนานาชาติ ครั้งที่ ๑ “คุณธรรมจริยธรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน” ระหว่างวันที่ ๒๘-๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต.ลำไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา (PDF) 
๓.๑๖ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. ”แนวทางการอยู่ร่วมกันของนิสิตพม่าภายใต้สำนึกของชาติพันธุ์ที่หลากหลายในมหาวิทยาลัยสงฆ์ไทย”. โครงการสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ ๑๗ ประจำปี ๒๕๖๐ ๒๒-๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หน้า ๒๘๐-๒๙๒

(PDF)

(Full Text Proceeding)

๓.๑๗ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (2560). พหุลักษณ์ชุมชนกับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ : กรณีศึกษาชุมชนวัดคูบางหลวงอนุกิจวิธูร จ.ปทุมธานี
 
๓.๑๘ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. “เฟชบุ๊กพื้นที่ทางความเชื่อและเพศ : การแสดงอัตลักษณ์ทางเพศของภิกษุ สามเณรไทย”. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๕ ระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๓ The 5th National and the 3rd International Conferences 2018  “จิตอาสากับการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน- Volunteer Spirit with Sustainable Social Development มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น วันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ (PDF)
๓.๑๙ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. พุทธศาสนาเถรวาท : อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และการคงอยู่ของ “ขะเเมร์กรอม” ในเวียดนาม. วารสารโพธิวิจัย [โพธิวิชชาลัย] มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (PDF)
๓.๒๐ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. ศาสตร์แห่งการให้คำปรึกษาเพื่อการบริหารและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา: กรณีศึกษาวัดหนองตาบุญ จ.สระบุรี. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๑) (PDF)
๓.๒๑ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (และคณะ). “อิทธิพลแห่งปฏิปทาของหลวงปู่ทวดต่อพุทธศาสนิกชนในประชาคมอาเซียน”. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ ๓ และการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น ครั้งที่ ๔ ในหัวข้อ “บูรณาการงานวิจัย ก้าวไกลสู่ Thailand 4.0” ๒๗ เมษายน ๒๕๖๑ ณ อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา (PDF)
๓.๒๒  พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. “แนวทางการบริหารและบูรณะวัดที่มีที่ตั้งโบราณสถานเพื่อการท่องเที่ยว : กรณีศึกษาวัดใหญ่พลิ้ว จ.จันทบุรี”. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านศิลปศาสตร์ ครั้งที่ ๓ ศาสตร์บูรณาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3rd Liberal Arts National Conference: Integrated Disciplines and Research for Sustainable Development (LAC 2018) วันที่ ๒๙-๓๐ มีนาคม ๒๕๖๑ ณ อาคาร ๖๒ ปี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา  
๓.๒๓ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). ”พระพุทธศาสนาในประเทศพม่า : นิกาย การปกครอง และสมณศักดิ์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (ฉบับพิเศษ) (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๑) Vol.7 No.2 (Special Issue)  April- June 2017 [วารสาร TCI ฐาน 1] (PDF) 
 ๓.๒๔ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. ”การล้อมปราบจากรัฐสู่ศาสนา : จับพระพิมลธรรมสึก มายาคติว่าด้วยความเป็นลาว ความก้าวหน้า และคอมมิวนิสต์”. การประชุมวิชาการระดับชาติ พื้นถิ่นโขง ชี มูล ราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ ๓ ศูนย์การเรียนรู้พุทธศิลป์ถิ่นอีสาน สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี  ถ.ทหาร ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี ระหว่างวันที่ ๒๕-๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๑  (Docx) 
 ๓.๒๕ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). “การสังคมสงเคราะห์แนวพุทธ แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสงฆ์เพื่อสวัสดิการด้านสุขภาวะของพระภิกษุสามเณร พระสังฆาธิการและชุมชนวัดในประเทศไทย”การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๒ MCU Nan Congress II เรื่อง การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาจิตใจและสังคมอย่างยั่งยืนในยุค Thailand 4.0 วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ พุทธมณฑลจังหวัดน่าน วัดพระธาตุแช่แห้ง และวิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน (PDF) 
[Proceedings เล่มที่ 1
เล่มที่ 2|เล่มที่ 3]

 ๓.๒๖  พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). “Theravada Buddhism: Gender’s Right and Ordination in Thai Society” ในงานสัมมนาเรื่อง  “Theravada Buddhism in Vietnam and Thailand : The Regional Culture Dialogue” จัดประชุมโดย Thai  Studies Center, University of Social Sciences and Humanities, Vietnam National University, Ho Chi Minh City, Vietnam (USSH, VNU-HCM) ระหว่างวันที่ ๑๓-๑๖ กันยายน ๒๕๖๑ (Docx) 
 ๓.๒๗ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). (๒๕๖๑). พัฒนาการของพระพุทธศาสนาอนัมนิกายแบบเวียดนามในประเทศไทย-Development of Annam Niyaka Buddhism on Vietnamese Style in Thailand (PDF)
 ๓.๒๘ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). (๒๕๖๑). สิทธิทางเพศกับการบวชในสังคมไทยตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท-Right of Sexuality for ordination in Thai society base on Theravada Buddhism (PDF)
 ๓.๒๙ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (๒๕๖๑). การสร้างพระใหญ่เพื่อสืบทอดและรักษาพระพุทธศาสนา สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานพุทธธรรม :  กรณีศึกษาวัดม่วงชุม จ.สิงห์บุรี   
 ๓.๓๐ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (๒๕๖๑). พม่า : หลากวิถี ต่างชาติพันธุ์ในมหาวิทยาลัยสงฆ์ไทย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จ.พระนครศรีอยุธยา  
๓.๓๑ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (๒๕๖๑). รหัสพุทธธรรม : ยันต์โสฬสที่วัดหน้าพระเมรุ จ.พระนครศรีอยุธยา  
๓.๓๒ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). “ผู้สูงอายุต้นแบบตามแนวพุทธ: กรณีศึกษาหลวงพ่อวัดบางเบิด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์”. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร [สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและความมั่นคง แห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ  กทม.]. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๑๕๖๑) [วารสาร TCI 3 – 0.2] (PDF)
๓.๓๓ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (๒๕๖๑). พระพุทธศาสนาในเวียดนาม : เรื่องเล่าจากการเดินทาง  (PDF)
๓.๓๔ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (นักวิจัยร่วม). ”กลไกการขับเคลื่อนศักยภาพขีดความสามารถของผู้สูงอายุโดยบูรณาการหลักพุทธธรรม”. วารสารสหวิทยาการวิจัย ฉบับบัณฑิตศึกษา ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒) Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies l Vol. 8 No. 1 (January-June 2019) หน้า ๒๖-๓๒. [Scopus 1.0] (PDF)
๓.๓๕ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). (๒๕๖๒). แนวคิด หลักปฏิบัติในพระพุทธศาสนา : เพื่อพัฒนาให้เป็นกลไกในการพัฒนาสุขภาวะแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ (PDF)
๓.๓๖ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). (๒๕๖๒). เรื่อง ห้ามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ.2538  :  ทัศนะเชิงวิพากษ์ภายใต้หลักการ ความจริง และความคิด. (PDF)
๓.๓๗ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). ”การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและศาสนาในประเทศอาเซียน : กรณีศึกษาหลวงพระบาง สปป.ลาว”. วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒) หน้า ๑๐๖-๑๒๘. 

(PDF)

[อ่านบทความจากวารสาร]

๓.๓๘ พระปลัดระพิน พุทธิสาโร (เขียนร่วม). ”ถอดบทเรียนจากพื้นที่ : การดูแลผู้สูงอายุตามแนวพุทธในจังหวัดสมุทรสงคราม”. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ “พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”. วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ณ อาคารเรียนรวม วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  
        ๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ
4.1 Phra Palad Raphin Buddhisaro. ”Annam Nikaya Buddhism on Vietnamese Style in Thailand:  History and Development”. International Conference, Thu Dau Mot University Thu Dau Mot City, Binh Duong Province, Vietnam. 7-8 December 2018 (PDF)
4.2 Phra Palad Raphin Buddhisaro. “Myanmar: Different Ethnicities in Thai Buddhist University of Mahachulalongkornrajavidyalaya University in Ayutthaya Province”. The International Conference on“Asian Values in the Process of Integration and Development” 24-25th October 2019, University of Social Sciences and Humanities, Vietnam National University, Vietnam (PDF)
4.3 Phra Palad Raphin Buddhisaro, (Co-Writer). “Applying Educational Psychology for Spiritual Teacher Development in Thailand”. International Conference on Research in Psychology (ICRPCONF) London, England March 7-8, 2019 (PDF)
4.4 Phra Palad Raphin Buddhisaro,  (Co-Writer).  “Buddhist Economics: Resource Management Based on Buddhist Approach”. the International Conference on Humanities. Language, Culture & Business, Cameron Highlands Pahang 2017. on 22-23 April 2017 at Hotel De’La Ferns, Cameron Highlands Pahang, Malaysia. /ISBN: 978-967-14835-1-0. /pp.290-293. (PDF)
4.5 Phra Palad Raphin Buddhisaro (Co-Writer). ”Applying Educational Psychology for Spiritual Teacher Development in Thailand”. International Conference on Research in Psychology (ICRPCONF) London, England March 7-8, 2019 (PDF)

 

๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม
๑. วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๖ เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส่ในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เกียรติบัตร)
๒. วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนา PLOs สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (วุฒิบัตร)
๓. วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๖ ได้เข้าร่วมโครงการอบรมสื่อสารองค์กร และการประชาสัมพันธ์ บนเทคโนโลยี Blockchain ด้วย NFT+Meraverse เพื่อการสร้างมูลค่าของแบรนด์ (เกียรติบัตร)