.
ประวัติ และผลงานของ รองศาสตราจารย์ ดร.ภัทรพล ใจเย็น


รศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น

 

๑. วุฒิการศึกษา
ปีสำเร็จการศึกษา ระดับการศึกษา สถาบัน เอกสาร
พ.ศ. ๒๕๓๖ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๓๙  M.A. (Economics) Marathwada University, India
พ.ศ. ๒๕๔๔ M.A. (Political Science) Tilak University, India
พ.ศ. ๒๕๔๔ Ph.D. (Economics) Dr. Babasaheb Ambedkar Marathwada University, India

 

๒. ตำแหน่งปัจจุบัน
      ก. ตำแหน่งทางวิชาการ/บริหาร
อาจารย์ประจำภาควิชาเศรษฐศาสตร์ (PDF)
หัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์ (PDF)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ (PDF)
รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ (PDF)
รองคณบดีคณะสังคมศาสตร์ ฝ่ายบริหาร (jpg)
      ข. ตำแหน่งกรรมการประจำหน่วยงานใน มจร และภายนอก

.

๓. ผลงานวิจัย ผลงานทางวิชาการ และสิ่งตีพิมพ์
        ๑. ผลงานวิจัย
๑.๑ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. “เศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
๑.๒ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. “การลดต้นทุนการปลูกข้าวเชิงพหุวัฒนธรรมในจังหวัดราชบุรี”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.
๑.๓ รศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น, ผศ.ดร.เดช ชูจันอัด. “พุทธเศรษฐศาสตร์ในทัศนะของปราชญ์ในประเทศและต่างประเทศ. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๐.
      ๒. ผลงานทางวิชาการ : ตำรา/หนังสือ/เอกสารประกอบการสอน
๒.๑ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. ภาษาอังกฤษ “English Grammar in the 21st century”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒.
๒.๒ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. หลักเศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, ๒๕๕๔.
๒.๓ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, ๒๕๕๔.
๒.๔ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. หลักเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ : บริษัท ฮับพริ้นติ้ง จำกัด, ๒๕๖๑.
๒.๕ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. เอกสารคำสอน รายวิชาเศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ : บริษัท ฮับพริ้นติ้ง จำกัด, ๒๕๖๑.
๒.๖ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. ดร. หลวงพ่อแดง พระสงฆ์ไม่ทิ้งประชาชน. พระนครศรีอยุธยา : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๕. (E-book)
      ๓. สิ่งตีพิมพ์/บทความทางวิชาการ
๓.๑ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. (๒๕๕๔). ความรู้และความเชื่อของนิสิต มจร ด้านเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ. หน้า ๗๑-๘๒.
๓.๒ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. (๒๕๕๖). ฝ่าทางตันโลกทุนนิยมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. หนังสือ 30 ปีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
๓.๓ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น, ผศ.เดช ชูจันอัด, ดร.ยุทธนา ปราณีต. การลดต้นทุนการปลูกข้าวเชิงพุทธวัฒนธรรมในจังหวัดราชบุรี. (๒๕๖๑). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมงานประชุมวิชาการระดับชาติ MCU CONGRESS 2, “คุณภาพอุดมศึกษาไทยในยุค Thailand 4.0”. ๓๐ เมษายน ๒๕๖๑. หน้า ๔๖๘-๔๗๗. (PDF)
๓.๔ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น. การกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม กับการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ (กันยายน – ธันวาคม) : ๖๘ – ๗๘. (PDF)
๓.๕ พระครูปุริมานุรักษ์, รศ.ดร., ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น, ผศ.เดช ชูจันอัด. เศรษฐศาสตร์แนวพุทธเพื่อสังคมที่ยั่งยืน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมงานประชุมวิชาการระดับชาติ MCU CONGRESS 2, “คุณภาพอุดมศึกษาไทยในยุค Thailand 4.0”. ๓๐ เมษายน ๒๕๖๑. หน้า ๕๒๗ – ๕๓๑. (PDF)
๓.๖ ผศ.ดร.ภัทรพล ใจเย็น, ผศ.พลวัฒน์ ชุมสุข. พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาความจนด้วยหลักอริยสัจ 4. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3, INC2019: MCU Nan “นครน่าน : นครพระพุทธศาสนา มรดกธรรมสู่ มรดกโลก. วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒. หน้า ๑๘๖๕ – ๑๘๗๘. (PDF)
๓.๗ ภัทรพล ใจเย็น, พลวัฒน์ ชุมสุข, ปิยวรรณ หอมจันทร์. การบริหารองค์กรและการเงินในสมัยพุทธกาล. รายงานประชุมวิชาการระดับชาติ MCU Congress 3 “นวัตกรรมทางการปกครองและการบริหารในยุคไทยแลนด์ 4.0”. วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒. หน้า ๒๔๕ – ๒๕๙. (PDF)
๓.๘ พระมหาจรูญ อภิธมฺมจิตฺโต, ปิยวรรณ หอมจันทร์, ภัทรพล ใจเย็น. หลักธรรมเพื่อการบริหารตน บริหารคน และบริหารงาน. รายงานประชุมวิชาการระดับชาติ MCU Congress 3 “นวัตกรรมทางการปกครองและการบริหารในยุคไทยแลนด์ 4.0”. วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๒. หน้า ๒๖๙ – ๒๗๗. (PDF)
๓.๙ พิเชฐ ทั่งโต, ภัทรพล ใจเย็น. เทคโนโลยีสารสนเทศกับยุทธศาสตร์เพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคออนไลน์. วารสารพุทธศาสน์เพื่อสันติ. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มีนาคม) : ๙๕ – ๑๐๘. (PDF)
๓.๑๐ ภัทรพล ใจเย็น, พิเชฐ ทั่งโต, พระคมสัน ฐิตเมธโส, พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร. สวนเกษตรแปลงผักหน้าหอนิสิต : พุทธบูรณาการทางสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาว่าด้วยการกิน. รายงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 (MCU Nan Congress IV) “พุทธเกษตร : นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน”. วันที่ ๙ กันยายน ๒๕๖๓. หน้า ๒๗ – ๔๑.  (PDF)
๓.๑๑ ภัทรพล ใจเย็น. การลดต้นทุนการปลูกข้าวเชิงพหุวัฒนธรรมในจังหวัดราชบุรี. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน) : ๗๕ – ๘๔. (PDF)
๓.๑๒ พระมหาบุญเลิศ ช่วยธานี, พระชยานันทมุนี, ปิยวรรณ หอมจันทร์, ภัทรพล ใจเย็น. พระสงฆ์กับความขัดแย้งทางการเมืองในท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณี พระครูวิบูลสิทธิธรรม เจ้าอาวาสวัดหนองพยอม จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม). (PDF)
      ๔. ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ
4.1 Dr.Phichet Thangto, Dr.Phatraphol Jaiyen, Professor Walmik Sarwade. (2018). Resource Management Based on Buddhist Approach According to Government Administration in Thailand 4.0 Era. International Journal of Management and Economics. Vol.I No.25 September 2018. PP. 21-24. (PDF)

.

๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร/การฝึกอบรม
๑. วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๔ เข้าร่วมประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การประเมินแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯ ระยะที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และระดมความคิดเพื่อยกร่างแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯ ระยะที่ ๑๓ (พ.ศ.๒๕๖๕ – ๒๕๖๙)  (วุฒิบัตร)
๒. วันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๓ เข้าร่วมการฝึกอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพบุุคลากร ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ (เกียรติบัตร)
๓. วันที่ ๙ กันยายน ๒๕๖๓ ผ่านการคัดเลือกและนำเสนอผลงานทางวิชาการเรื่อง “สวนเกษตรแปลงผักหน้าหอนิสิต : พุทธบูรณาการทางสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาว่าด้วยการเงิน” (เกียรติบัตร)
๔. วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๔ เข้าร่วมกิจกรรมเสริมความรู้ ผ่านระบบ Zoom เรื่อง “สังคมสงเคราะห์เพื่อการพัฒนาสังคม” (เกียรติบัตร)

 

  .